วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2553

การกักขัง electron


กักขัง electron

(http://jila.colorado.edu/research/images/nano_quantumDots.jpg)


การถูกกักขังนี้จึงส่งผลให้เกิดระดับการส่งผ่านพลังงานที่ไม่ต่อเนื่อง หรือเกิดเป็นพลังงานแบบควอนตัมนั่นเอง ส่งผลให้ค่าระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในควอนตัมดอทสามารถควบคุมให้แปรเปลี่ยนไปตามขนาดของควอนตัมดอทได้ ซึ่งจะพบว่าควอนตัมดอทที่มีขนาดโครงสร้างเล็ก จะมีช่วงของช่องว่างระหว่างแถบพลังงานอิเล็กตรอน (energy band gap) ของระดับพลังงานที่กว้างมากกว่าควอนตัมดอทที่มีขนาดโครงสร้างใหญ่กว่า และโครงสร้างของควอนตัมดอทที่มีขนาดเล็กกว่าจะมีค่า Exciton Bohr Radius ที่มากกว่าโครงสร้างควอนตัมดอทที่มีขนาดใหญ่อีกด้วย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น